ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม

หอพระไตร

» พระวินัยปิฎก

» พระสุตตันตปิฎก

» พระอภิธรรมปิฎก

» พระสูตร

พระไตรปิฎกฉบับประชาชน

พระวินัยเล่มที่ ๕

ชื่อมหาวัคค์ (เป็นวินัยปิฎก)

เภสัชชขันธกะ

(หมวดว่าด้วยยา)

ทรงอนุญาตเภสัช ๕ และอื่น ๆ

ทรงห้ามทำการผ่าตัดหรือผูกรัดที่ทวารหนัก

ทรงห้ามผ่าตัด หรือผูกมัดด้วยหนังหรือผ้า ภายในบริเวณ ๒ นิ้ว โดยรอบทวารหนัก ผู้ฝ่าฝืนต้องอาบัติถุลลัจจัย (เกี่ยวกับริดสีดวงทวาร).

ทรงห้ามฉันเนื้อที่ไม่ควร

๑. ทรงห้ามฉันเนื้อมนุษย์ ผู้ฉัน ต้องอาบัติถุลลัจจัย. ภิกษุจะฉันเนื้อสัตว์ ต้องพิจารณาก่อน ขืนฉัน ทั้งไม่พิจารณา ต้องอาบัติทุกกฏ.

 (นางสุปปิยาอุบาสิกาเห็นภิกษุอยากฉันเนื้อ หาเนื้อไม่ได้ จัดตัดเนื้อตนเองปรุงอาหารถวาย)

๒. ทรงห้ามฉันเนื้อสัตว์ที่ไม่สมควรอีก ๙ ชนิด คือ เนื้อช้าง, เนื้อม้า, เนื้อสุนัขบ้าน, เนื้องู, เนื้อราชสีห์ (สิงโต), เนื้อเสือโคร่ง, เนื้อเสือดาว, เนื้อหมีและเนื้อสุนัขป่า.

<< ย้อนกลับ  ||  หน้าถัดไป  >>

- ทรงห้ามเก็บเภสัช ๕ ไว้เกิน ๗ วัน
- ทรงอนุญาตของฉันบางอย่าง
- ทรงอนุญาตเรื่องการฉันหลายข้อ
- ทรงห้ามทำการผ่าตัดหรือผูกรัดที่ทวารหนัก
- ทรงอนุญาตและไม่อนุญาตของฉันบางอย่าง
- เสด็จแสดงธรรมที่ปาฏลิคามและโกฏิคาม
- นางอัมพปาลีถวายป่ามะม่วง
- สีหเสนาบดีเปลี่ยนศาสนา

จัมมขันธกะ(หมวดว่าด้วยหนัง)
เภสัชชขันธกะ (หมวดว่าด้วยยา)
ทรงถอนข้ออนุญาตสำหรับยามข้าวยาก
กฐินขันธกะ (หมวดว่าด้วยกฐิน)
จีวรขันธกะ (หมวดว่าด้วยจีวร)
การทำกรรมที่ไม่เป็นธรรมและที่เป็นธรรม
โกสัมพิขันธกะ


พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย