ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
» พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
จุลลวัคค์ (เป็นพระวินัยปิฏก)
วัตตขันธกะ
(หมวดว่าวัตรหรือข้อปฎิบัติ)
(๖) อรัญญกวัตร (วัตรของภิกษุผู้อยู่ป่า)
ภิกษุผู้อยู่ป่า พึงลุกขึ้นแต่เช้า เอาบาตรใส่ถุงแล้วคล้องบ่า เอาจีวรพาดที่คอ ใส่รองเท้า เก็บเครื่องใช้ที่ทำด้วยไม้และดินเผา ปิดประตูหน้าต่างแล้วลงจากที่อยู่อาศัย ( สนาสนะ) เมื่อจะเข้าบ้าน พึงถอดรองเท้าเคาะในที่ต่ำ
ใส่ไว้ในถุงแล้วคล้องบ่า นุ่งให้เรียบร้อย คาดประคดเอว ซ้อนผ้า ( จีวรกับสังฆาฏิ) แล้วห่มผ้าซ้อนนั้น ติดลูกดุม ล้างบาตรแล้วถือเข้าไปด้วยดี ไม่รีบด้วน ( ต่อจากนั้นพึงปฏิบัติตามเสขิยวัตรเนื้องในการเข้าบ้านทุกข้อ) เมื่อเสร็จจากการรับบิณฑบาตออกจากบ้านแล้ว ใส่บาตรไว้ในถุงคล้องบ่า ม้วนจีวรวางไว้บนศีรษะ ใส่รองเท้าเดินไป.
ภิกษุอยู่ป่าพึงตั้งน้ำดื่ม น้ำใช้ และจุดไฟไว้ วางไม้สีไฟไว้ ตั้งไม้เท้าไว้ เรียนนักษัตรบท ( ทางเดินของดาวฤกษ์) ทั้งหมด หรือบางส่วน และเป็นผู้ฉลาดในทิศ.
- อาวาสิกวัตร (ข้อปฏิบัติของภิกษุเจ้าถิ่น)
- คมิกวัตร (ข้อปฏิบัติของภิกษุผู้จะเดินทางจากไป)
- ปิณฑจาริกวัตร (วัตรของภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต)
- อรัญญกวัตร (วัตรของภิกษุผู้อยู่ป่า)
- เสนาสนวัตร (วัตรเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย)
- วัจจกุฏิวัตร (วัตรเกี่ยวกับส้วม)
- อุปัชฌาวัตร (วัตรเกี่ยวกับอุปัชฌายะ)
- สัทธิวิหาริกวัตร (ข้อปฏิบัติต่อสัทธิวิหาริก)
ขุททกวัตถุขันธกะ (หมวดว่าด้วยเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ)
เสนาสนขันธกะ (หมวดว่าด้วยที่อยู่อาศัย)
สังฆเภทขันธกะ (หมวดว่าด้วยสงฆ์แตกกัน)
วัตตขันธกะ (หมวดว่าวัตรหรือข้อปฎิบัติ)
ปาฏิโมกขฐปนขันธกะ (หมวดว่าด้วยการแสดงปาฏิโมกข์)
ภิกขุนีขันธกะ (หมวดว่าด้วยนางภิกษุณี)
ปัญจสติกขัรธกะ (หมวดว่าด้วยพระอรหันต์ ๕๐๐ รูป
ในการทำสังคายนาครั้งที่ ๑)
สัตตสิกขันธกะ (หมวดว่าด้วยพระอรหันต์ ๗๐๐ รูป
ในการสังคายนาครั้งที่ ๒)
พระวินัยเล่มที่
๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘