สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม

ความสำคัญระหว่างรัฐกับสังคม

รัฐกับสังคมต่างก็มีความสำคัญต่อกันและกัน และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เพราะสังคมจัดเป็นส่วนหนึ่งของรัฐ สังคมมีส่วนสำคัญในการก่อให้เกิดเป็นรัฐขึ้นมา และสังคมเองก็ต้องพัฒนาตนเองให้เป็นรัฐ เพื่อความเจริญก้าวหน้าของสังคมเอง และเพื่อติดต่อมีสัมพันธ์กับรัฐอื่น และรัฐเองก็ต้องอาศัยสังคม เพื่อความเจริญของรัฐ รัฐจะเข็มแข็งมั่นคง สามารถติดต่อกับรัฐอื่นได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีพลังอำนาจ ก็ขึ้นอยู่กับสังคมในรัฐนั้นๆเช่นกัน ทั้งรัฐและสังคมจึงต่างก็มีความสำคัญต่อกันและมีความผูกพันกัน มีความสัมพันธ์ต่อกัน ถ้าความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคมเป็นไปด้วยดี ปราศจากปัญหาใดๆ ทั้งสังคมนั้นและรัฐนั้น ก็จะมีแต่ความสุข ความมั่นคง และมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง

 

ความสำคัญระหว่างรัฐกับสังคม
กลไกในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ
กฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายตามแบบพิธี
การจัดลำดับความสำคัญของกฎหมาย
พระราชบัญญัติและประมวลกฎหมาย
พระราชกำหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบังคับสุขาภิบาล
ที่มาของกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายภายในประเทศ (National Law)
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
วัฒนธรรมหรือประเพณี
ผลของการมีความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย