สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม

รัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายที่สำคัญกว่ากฎหมายฉบับใดๆทั้งสิ้น เพราะเป็นกฎหมายสูงสุด ที่ใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศ จะกำหนดถึงรูปแบบของการปกครอง การแบ่งอำนาจ หน้าที่ในการใช้อำนาจอธิปไตยระหว่างองค์กรต่างๆ ของรัฐ ตลอดจนสิทธิหน้าที่ของประชาชนในประเทศนั้นๆ กฎหมายฉบับอื่นใดที่ออกมาแล้ว มีบทบัญญัติที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญกฎหมายฉบับนั้นย่อมใช้บังคับมิได้ รัฐธรรมนูญออกโดยองค์กรนิติบัญญัติของประเทศ คือ รัฐสภา (แต่ในบางกรณีองค์กรอื่น ก็อาจจัดทำรัฐธรรมนูญได้ เช่น คณะปฏิวัติยึดอำนาจได้สำเร็จมีอำนาจสูงสุดในประเทศ ออกธรรมนูญการปกครอง ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวออกมาใช้)

รัฐธรรมนูญจะเป็นเครื่องมือสำคัญของรัฐในการปกครองรัฐและสังคม เป็นแม่แบบเป็นแนวทาง ให้รัฐดำเนินวิธีการปกครองในสังคมได้อย่างถูกต้อง ทั้งในเรื่องขอบเขตอำนาจหน้าที่ของรัฐ รวมทั้งความรับผิดชอบของรัฐต่อสังคม

ความสำคัญระหว่างรัฐกับสังคม
กลไกในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ
กฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายตามแบบพิธี
การจัดลำดับความสำคัญของกฎหมาย
พระราชบัญญัติและประมวลกฎหมาย
พระราชกำหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบังคับสุขาภิบาล
ที่มาของกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายภายในประเทศ (National Law)
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
วัฒนธรรมหรือประเพณี
ผลของการมีความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย