สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

การเมืองการปกครองไทย

สมัยกรุงสุโขทัย

แม้ประวัติการปกครองของคนไทยจะมีมาก่อนการ สถาปนากรุงสุโขทัยเป็นราชธานีก็ตาม แต่เราถือว่าในช่วงก่อนนั้นการรวมกลุ่มของคนไทยหรือการจัดการปกครองของไทยนั้นยังไม่เป็นเอกภาพหรือเป็นเอกราชมั่นคงเท่าที่ควร ซึ่งก่อนนั้นมีการรุกรานรบพุ่งกันเป็นความเดือดร้อนอยู่ตลอดเวลา แต่มาถึงสมัยกรุงสุโขทัยนี้ ถือว่าการรวมตัวปกครองของคนไทยได้เป็นปึกแผ่นมั่นคงมากขึ้น จึงทำให้สามารถจัดระบบระเบียบการปกครองได้ดีกว่าสมัยก่อนนี้

ชนชาติไทยมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นที่รู้จักกันของชาวโลกครั้งแรกในนาม “ไทยเมือง“ คนจีนเรียกว่า “ใต้มุง“ ส่วนฝรั่งเรียกตามคนจีนว่า “Greet Mung” แต่คนไทยเรียกตนเองว่า “อ้ายลาว“ ชนชาติอ้ายลาวมีอาชีพหลักคือการเพาะปลูก ซึ่งได้อพยพมาจากใจกลางของทวีปเอเชีย มาตั้งถิ่นฐานที่มั่นในแถบลุ่มแม่น้ำเหลืองและลุ่มแม่น้ำยังจือหรือแยงซีเกียง (กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ 2531 : 3) จากการรุกรานของคนจีนหลายครั้งหลายหนจนทำให้คนไทยต้องอพยพมารวมกลุ่มเป็นปึกแผ่นอยู่ในดินแดนแหลมทองหรือดินแดนสยามที่เป็นประเทศไทยปัจจุบันนี้ เป็นเรื่องธรรมดาคนไทยเป็นคนกลุ่มน้อยการรบการทำสงครามย่อมจะแพ้กำลังมากซึ่งเข้ากับคำพังเพยที่ว่า “น้ำน้อยย่อมแพ้ไฟ“ และอีกอย่างคนชาติไทยเป็นชนชาติที่รักสงบ การรบการทำสงครามนั้นเป็นสิ่งที่คนไทยไม่ปรารถนา ไม่ว่าในอดีตหรือปัจจุบัน ถ้าไม่จำเป็นที่สุดคือจำเป็นที่จะปกป้องเอกราชบูรณภาพแห่งดินแดนของตนเท่านั้นจึงจะทำการรบหรือทำสงคราม เพราะถือว่าการทำสงครามคือการสูญเสีย เสียทั้งเลือดเนื้อ เศรษฐกิจ ทรัพย์สินเงินทองและทรัพยากรอื่น ๆ มากมาย เมื่อเป็นเช่นนั้นจึงทำให้คนไทยอพยพถอยร่นจากการรุกรานของจีนมาอยู่ดินแดนแหลมทองดังกล่าว จนได้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1800

การปกครองไทยสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
สมัยกรุงสุโขทัย
ลักษณะการปกครอง
พ่อขุนรามคำแหงปรับปรุงการปกครอง
สมัยกรุงศรีอยุธยา
ลักษณะการปกครอง
การจัดการปกครองสมัยพระบรมไตรโลกนาถ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
การปกครองสมัยรัชกาลที่ 5
การปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง
การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น
การปกครองสมัยรัชกาลที่ 6
การปรับปรุงโครงสร้างการปกครอง
การปกครองรัชกาลที่ 7
ทรงปรับปรุงการปกครอง
การปกครองในสมัยประชาธิปไตย
กระแสความคิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
มูลเหตุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
หลัก 6 ประการของคณะราษฎร
เค้าโครงเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์ธรรมนูญ
พื้นฐานประชาธิปไตยของคณะราษฎร
รัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยของไทย
รัฐสภาไทย
บทบาทและอำนาจหน้าที่รัฐสภา
การใช้อำนาจของรัฐสภา
การเสนอร่างพระราชบัญญัติ
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎร
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของวุฒิสภา
การเสนอญัตติ
การตั้งกระทู้ถามและตอบกระทู้ถาม
การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมาธิการ
หลักประกันของสมาชิกรัฐสภา
ประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
หน้าที่ของชนชาวไทย
แนวนโยบายแห่งรัฐ
รัฐสภา
วุฒิสภา
สภาผู้แทนราษฎร
สมัยประชุมสามัญของรัฐสภา
ที่มาของคณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีกับอำนาจทางการเมือง
คณะรัฐมนตรีกับฝ่ายบริหาร
การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรี
การปกครองส่วนท้องถิ่น
ตุลาการรัฐธรรมนูญ
รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย