ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาปรัชญา

ทฤษฎีทางอภิปรัชญา

นับตั้งแต่มนุษย์เกิดมา เกิดมาพร้อมกับความคิดต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของธรรมชาติ หรือเรื่องปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพราะมนุษย์เริ่มสนใจสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเพิ่มมากขึ้น เนื่องมาจากการเสื่อมศรัทธาในเรื่องพระเจ้า ดังนั้น พวกเขาจึงเกิดความสงสัยขึ้นว่า ในเมื่อพระเจ้าไม่ได้เป็นปฐมธาตุของสรรพสิ่ง หรือไม่ได้เป็นบ่อเกิดของโลกแล้ว อะไรเป็นปฐมธาตุของโลก หรืออะไรเป็นบ่อเกิดอันที่แท้จริงของโลก ลักษณะแนวคิดเช่นนี้มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ จนกระทั่งถึงปัจจุบัน แนวความคิดเหล่านี้ล้วนแต่เป็นแนวคิดเกี่ยวกับอภิปรัชญาทั้งนั้น

แนวความเกี่ยวกับอภิปรัชญาจึงมีวิวัฒนาการมาเป็นเวลานาน และนักปรัชญาจำนวนมากพยายามคิดหาคำตอบให้แก่ตนเอง ซึ่งต่างคนก็ต่างมีแนวความคิดไปคนละอย่าง บางทัศนะก็มีนักปรัชญาเห็นพ้องต้องกันหลายคน จึงได้รวมกลุ่มกันเกิดเป็นลัทธิหรือทฤษฎีทางอภิปรัชญาขึ้น ทฤษฎีแต่ละทฤษฎีพยายามที่จะค้นหาความจริงทางอภิปรัชญาหรือเกี่ยวกัลเอกภพ เกี่ยวกับโลก เกี่ยวกับจิตวิญญาณ หรือแม้แต่เกี่ยวกับพระผู้เป็นเจ้า

ในปัจจุบันนี้ ทฤษฎีทางอภิปรัชญา มี 5 ทฤษฎีคือ

1. ทฤษฎีสสารนิยม (Materialism)
2. ทฤษฎีจิตนิยม (Idealism)
3. ทฤษฎีเอกนิยม (Monism)
4. ทฤษฎีทวินิยม (Dualism)
5. ทฤษฎีพหุนิยม (Pluralism)

ในบรรดาทฤษฎีเหล่านี้ จะกล่าวไว้ในบทนี้พอเป็นสังเขป ส่วนรายละเอียดจะกล่าวในบทต่อไป

ความหมายของปรัชญา
การนิยามความหมายของนักปรัชญา
ระบบปรัชญา
สาขาปรัชญา
อภิปรัชญาคืออะไร
ความหมายของอภิปรัชญา
ความเป็นมาของอภิปรัชญา
ความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆ
บ่อเกิดแนวความคิดทางอภิปรัชญา
หน้าที่ของอภิปรัชญา
ลักษณะและขอบเขตของอภิปรัชญา
ทฤษฎีทางอภิปรัชญา
ทฤษฎีสสารนิยม
ทฤษฎีจิตนิยม
ทฤษฎีเอกนิยม
ทฤษฎีทวินิยม
ทฤษฎีพหุนิยม
อภิปรัชญาว่าด้วยเอกภพ หรือธรรมชาติ
ทัศนะฝ่ายจิตนิยม
วิวัฒนาการของจิตนิยม
ทฤษฎีเอกนิยมฝ่ายจิตนิยม
ทฤษฎีพหุนิยมฝ่ายจิตนิยม
จิตนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันตก
จิตนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันออก
จิตนิยมในปรัชญาอินเดีย
ทัศนะฝ่ายสสารนิยม
ทฤษฎีพหุนิยมฝ่ายสสาร
สสารนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันตก
สสารนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันออก
ทัศนะฝ่ายธรรมชาตินิยม
ลักษณะและธรรมชาติของชีวิต
อภิปรัชญาว่าด้วยจิต หรือวิญญาณ
ความหมายของจิต มโน หรือวิญญาณ
การนิยามความหมายของฝ่ายตะวันตก
การนิยามความหมายของฝ่ายตะวันออก
ธรรมชาติของจิต มโน หรือวิญญาณ
วิญญาณเป็นพลังงาน
เจตจำนงเสรี (Free Will)
ความสัมพันธ์ระหว่างกายกับจิต
อมฤตภาพของวิญญาณ
ลัทธิเพลโต้ในทางอภิปรัชญา
ทัศนะของอริสโตเติ้ล (Aristotle)
ทัศนะของเบริ์คเล่ย์ (Berkeley)
อภิปรัชญาว่าด้วยพระเจ้า หรือสิ่งสัมบูรณ์
พระเจ้าคืออะไร
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับพระเจ้า
เทววิทยา
พิสูจน์ความมีอยู่ของพระเจ้า
เหตุผลทางจักรวาลวิทยา
เหตุผลทางเจตจำนง หรือวัตถุประสงค์
เหตุผลทางภววิทยา
เหตุผลทางจริยธรรม
นักปรัชญาฝ่ายอเทวนิยม (Atheism)
ทฤษฎีการสร้างโลก
จักรวาลวิทยา
ทัศนะของนักปรัชญาเกี่ยวกับพระเจ้า
บรรณานุกรม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย