ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาปรัชญา

ทฤษฎีสสารนิยม

(Materialism)

ทฤษฎีสสารนิยมหรือทฤษฎีวัตถุนิยม (Materialism) ได้แก่พวกที่ถือว่า สสารและปรากฏการณ์ของสสารเท่านั้นเป็นความแท้จริง จิตเป็นเพียงปรากฏการณ์ของสสาร ดังนั้น สรรพสิ่งในโลกล้วนแต่เป็นสสาร ทฤษฎีสสารนิยมยุคแรก ๆ อาจได้แก่แนวความคิดทางธรรมชาติ ที่เราเรียกว่าธรรมชาตินิยม เพราะถือว่า สสารเป็นความแท้จริง ชีวิตคือพลังงานทางฟิสิกส์และเคมีที่ซับซ้อน ส่วนจิตคือปรากฏการณ์ทางสมอง

สสารนิยม เชื่อว่าสสารเป็นบ่อเกิดของโลกจักรวาล มนุษย์ มีร่างกายที่ปรากฏอยู่ประกอบด้วยกลไกต่าง ๆ และทำงานได้ดุจเครื่องจักรกล ส่วนจิตนั้นเป็นสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง ลักษณะต่าง ๆ ของจิต ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึก นึกคิด ความเข้าใจ เป็นผลมาจากการรวมตัวของวัตถุหรือสสาร

เมื่อเป็นเช่นนี้ ลักษณะของสสารนิยม จึงเป็นความพยายามที่จะหาคำตอบเกี่ยวกับเรื่องสสารโดยเฉพาะ แนวความคิดเกี่ยวกับสสารนิยม จึงแพร่หลายมาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ และมีทฤษฎีสสารนิยมเกิดขึ้นมากมายที่สำคัญที่สุดได้แก่ ทฤษฎีจักรกลนิยม (Mechanicism)

ทฤษฎีจักรกลนิยม (Mechanicism) ก่อตั้งโดย โธมัส ฮ็อบส์ (Thomas Hobbes) นักสสารนิยมชาวอังกฤษ ถือว่า ชีวิตและความคิดทุกอย่างเกิดขึ้นตามกฎกลศาสตร์ที่ตายตัว โลกเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่ตายตัวประกอบด้วยสสารและพลังงาน ดังนั้น สสารจึงเป็นความแท้จริง ส่วนจิตคือการทำหน้าที่ของสมอง

ความหมายของปรัชญา
การนิยามความหมายของนักปรัชญา
ระบบปรัชญา
สาขาปรัชญา
อภิปรัชญาคืออะไร
ความหมายของอภิปรัชญา
ความเป็นมาของอภิปรัชญา
ความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆ
บ่อเกิดแนวความคิดทางอภิปรัชญา
หน้าที่ของอภิปรัชญา
ลักษณะและขอบเขตของอภิปรัชญา
ทฤษฎีทางอภิปรัชญา
ทฤษฎีสสารนิยม
ทฤษฎีจิตนิยม
ทฤษฎีเอกนิยม
ทฤษฎีทวินิยม
ทฤษฎีพหุนิยม
อภิปรัชญาว่าด้วยเอกภพ หรือธรรมชาติ
ทัศนะฝ่ายจิตนิยม
วิวัฒนาการของจิตนิยม
ทฤษฎีเอกนิยมฝ่ายจิตนิยม
ทฤษฎีพหุนิยมฝ่ายจิตนิยม
จิตนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันตก
จิตนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันออก
จิตนิยมในปรัชญาอินเดีย
ทัศนะฝ่ายสสารนิยม
ทฤษฎีพหุนิยมฝ่ายสสาร
สสารนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันตก
สสารนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันออก
ทัศนะฝ่ายธรรมชาตินิยม
ลักษณะและธรรมชาติของชีวิต
อภิปรัชญาว่าด้วยจิต หรือวิญญาณ
ความหมายของจิต มโน หรือวิญญาณ
การนิยามความหมายของฝ่ายตะวันตก
การนิยามความหมายของฝ่ายตะวันออก
ธรรมชาติของจิต มโน หรือวิญญาณ
วิญญาณเป็นพลังงาน
เจตจำนงเสรี (Free Will)
ความสัมพันธ์ระหว่างกายกับจิต
อมฤตภาพของวิญญาณ
ลัทธิเพลโต้ในทางอภิปรัชญา
ทัศนะของอริสโตเติ้ล (Aristotle)
ทัศนะของเบริ์คเล่ย์ (Berkeley)
อภิปรัชญาว่าด้วยพระเจ้า หรือสิ่งสัมบูรณ์
พระเจ้าคืออะไร
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับพระเจ้า
เทววิทยา
พิสูจน์ความมีอยู่ของพระเจ้า
เหตุผลทางจักรวาลวิทยา
เหตุผลทางเจตจำนง หรือวัตถุประสงค์
เหตุผลทางภววิทยา
เหตุผลทางจริยธรรม
นักปรัชญาฝ่ายอเทวนิยม (Atheism)
ทฤษฎีการสร้างโลก
จักรวาลวิทยา
ทัศนะของนักปรัชญาเกี่ยวกับพระเจ้า
บรรณานุกรม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย