สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

เศรษฐศาสตร์เพื่อชุมชน

 

ยุทธศาสตร์หนึ่งครัวเรือนสองวิถีการผลิต
แนวทางการปฏิบัติ
หลักคิดและการพัฒนา
ธุรกิจชุมชน-วิสาหกิจชุมชม
วิสัยทัศน์ในการสร้างกกระบวนทัศน์ใหม่
แนวคิดและทฤษฎี
แนวคิดเรื่องธุรกิจชุมชนในต่างประเทศ
ธุรกิจชุมชนในประเทศด้อยพัฒนา
การศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งธุรกิจชุมชน
ความเป็นไปได้ในการจัดตั้งธุรกิจชุมชนต่าง ๆ
รูปแบบที่เหมาะสมของธุรกิจชุมชน
แนวคิดเศรษฐกิจชุมชนในปัจจุบัน

แนวคิดเศรษฐกิจชุมชนในปัจจุบัน

พุทธทาสภิกขุ

คนแรกที่สุดคือท่านพุทธทาสภิกขุ ซึ่งได้เสนอไว้ตั้งแต่ พ.ศ.2516 ในการบรรยายธรรมเรื่อง “ธัมมิกสังคมนิยม” ความคิดหลักของท่านคือ ลัทธิสังคมนิยมนั้น ไม่มีการกอบโกยส่วนเกิน ไม่ปล่อยให้ใครทำอะไรตามใจตัว แต่ก็ไม่ควรเริ่มจากความบ้าเลือด อาฆาตแค้น สังคมนิยมต้องประกอบด้วยธรรมะ ประกอบด้วยหลัก 3 ประการ คือ

  1. เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของสังคมส่วนรวม
  2. ไม่กอบโกยส่วนเกิน ไม่ละเมิดผลประโยชน์โดยรวมของสังคม ให้ “กินอยู่แต่พอดี” ไม่ใช่กินดีอยู่ดี
  3. ต้องเคารพธรรมชาติ สรรพชีวิต และมีเมตตากรุณาต่อกัน

ความคิดของท่านพุทธทาสได้รับความสนใจอย่างมาก โดยเฉพาะในหมู่ชาวต่างประเทศซึ่งเห็นว่าเป็นความคิดใหม่ ปาฐกถาที่ท่านแสดงในครั้งนี้ ต่อมาได้ถูกแปลเป็นภาษาอังกฤษโดยนายโดนัลด์ เค. สแวเรอร์ อาจารย์วิทยาลัยสวอร์ทมอร์ รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา และแพร่หลายในหมู่ชาวพุทธต่างประเทศ

แนวคิดของท่านพุทธทาส ต่อมาได้รับการพัฒนาต่อโดยศิษย์ฝ่ายฆราวาสของท่านหลายคนแต่มีที่พลังต่อสังคมและกลุ่มองค์กรพัฒนาเอกชนมากที่สุด คือ ศ.นพ.ประเวศ วะสี

พุทธทาสภิกขุ
สมณะโพธิรักษ์
ศ.นพ.ประเวศ วะสี
อี.เอฟ.ชูมาเกอร์
พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยุตโต)
นักคิดกลุ่มสภาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพื่อการพัฒนา
ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์
ศ.ดร.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
ศ.เสน่ห์ จามริก
ศ.ดร.อภิชัย พันธเสน
อ.พิทยา ว่องกุล
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9


แนวคิดพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจในระดับประเทศ
พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548
 

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย