สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ระบบการเงินระหว่างประเทศในปัจจุบัน
- ระบบการเงินระหว่างประเทศหลังปี 1973 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
- ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว
- ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดค่าเสมอภาคไว้กับค่ามาตรฐาน ได้แก่ การกำหนดค่าเสมอภาคไว้กับเงินสกุลใดสกุลหนึ่งหรือเงินตราหลายสกุลและทองคำ
- ระบบการเงินระหว่าประเทศของประเทศไทยได้มีวิวัฒนาการมาจากการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนโดยกำหนดค่าเสมอภาคไว้กับทองคำและดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ต่อมาในปี พ.ศ. 2521 ได้กำหนดค่าเสมอภาคไว้กับเงินตราหลายสกุลและได้เริ่มใช้อัตราแลกเปลี่ยนแบบกำหนดประจำวัน จนประทั่ง พ.ศ. 2524 ในปัจจุบันได้กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนผ่านทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนโดยพิจารณาจากอุปสงค์อุปทานของเงินตราต่างประเทศตลอดจนภาวะเศรษฐกิจของประเทศ
ระบบการเงินระหว่างประเทศที่ประเทศต่างๆ ใช้
แต่ละประเทศจะเลือกใช้ระบบการเงินระหว่างประเทศที่เห็นว่าเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจและการเงินของประเทศตนมากที่สุด
โดยระบบการเงินระหว่างประเทศแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว
และระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่กำหนดค่าเสมอภาคไว้กับค่ามาตรฐานซึ่งแต่ละระบบยังแบ่งย่อยไปอีก
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศของประเทศไทย
จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2527
ประเทศไทยได้กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว ภายใต้การควบคุมพิจารณาจากอุปสงค์
อุปทานเงินตราต่างประเทศ
และภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นองค์ประกอบด้วยการควบคุมทำได้โดยผ่านทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
ความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
โครงสร้างและวิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ประเทศกำลังพัฒนากับการค้าระหว่างประเทศ
เส้นความพอใจเท่ากัน
ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (1)
ดุลยภาพของการค้าระหว่างประเทศสมัย นีโอคลาสสิก
ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (2)
ทฤษฎีว่าด้วยสมภาพแห่งราคาปัจจัยการผลิต
ทฤษฎีอื่นๆ เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
อัตราการค้าและการวัดผลได้จากการค้าระหว่างประเทศ
นโยบายการค้าระหว่างประเทศโดยทั่วไป
นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน
ปัญหาการค้าระหว่างประเทศของประเทศกำลังพัฒนา
นโยบายการค้าระหว่างประเทศสำหรับประเทศกำลังพัฒนา
ความเจริญทางเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ
ผลของความเจริญทางเศรษฐกิจที่มีต่อการค้าระหว่างประเทศ
ผลของการค้าต่อความจำเริญทางเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนา
ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ
ความไม่สมดุลของดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ
สภาพดุลการชำระเงินระหว่างประเทศในปัจจุบัน
อัตราแลกเปลี่ยนและตลาดเงินตราต่างประเทศ
ตลาดเงินตราต่างประเทศ
ระบบการเงินระหว่างประเทศ
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงได้
ระบบมาตรปริวรรษทองคำ
ระบบการเงินระหว่างประเทศในปัจจุบัน
การลงทุนและความช่วยเหลือจากต่างประเทศ
ความหมายประเภท และบทบาทของการลงทุนจากต่างประเทศ
การลงทุนโดยตรงของเอกชนจากต่างประเทศ
การลงทุนโดยทางอ้อมจากต่างประเทศและความช่วยเหลือจากต่างประเทศ
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ทฤษฎีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
องค์การระหว่างประเทศ
ธนาคารโลก
ข้อตกลงทั่วไปเกี่ยวกับการภาษีศุลกากรและการค้า
การประชุมว่าด้วยการค้าและการพัฒนาของสหประชาชาติ
ความสัมพันธ์ของนโยบายการเงิน การคลัง การค้าและอัตราแลกเปลี่ยน
นโยบายอัตราแลกเปลี่ยน นโยบายการค้ากับความสมดุลฯ
ผลที่มีต่อดุลการชำระเงินและรายได้ประชาชาติ
การค้า การเงินระหว่างประเทศและการลงทุนจากต่างประเทศของประเทศไทย
ปัญหาการค้าการเงินระหว่างประเทศและการลงทุนจากต่างประเทศ